หลักการเติม ed หลังคำกริยา สำหรับ Regular Verbs ในคำกริยาช่อง 2 และช่อง 3 จากวันก่อนที่ได้อธิบายเรื่อง กริยา 3 ช่อง และเห็นประเภทของคำกริยา 3 ช่องไปแล้ว นั่นคือมี Regular Verbs (กริยาผันปกติ - เติม ed) และ Irregular Verbs (กริยาผันไม่ปกติ) เดี๋ยววันนี้เราจะมาดูหลักการเติม ed ใน irregular verbs กัน และนี่สำคัญเพราะออกข้อสอบกันอยู่เรื่อยๆ จ้า
หลักการอ่านคำกริยา 3 ช่อง Regular Verbs (ที่เติม -ed) เราได้เรียนรู้และเห็นการกริยา 3 ช่องกันมาหลายคำแล้ว อย่างที่รู้ว่าเราแบ่งเป็นเปลี่ยนคำ (Irregular Verbs) หรือเติม -ed ต่อท้าย (Regular Verbs) แบบแรกก็ง่ายเพราะมีเสียงอ่านเฉพาะคำ แต่แบบที่ 2 แม้จะเติม -ed แต่ดันอ่านไม่เหมือนกันอีก เดี๋ยวเรามาดูกันว่าคำไหนต้องออกเสียงแบบไหนกัน ไปดูเลย
10 คำกริยา 3 ช่อง หมวด Regular Verb ที่ค้นหาบ่อยและนิยมนำไปออกข้อสอบ ต่อจากส่วนที่แล้ว – 10 คำกริยา 3 ช่อง หมวด Irregular Verb ที่ค้นหาบ่อยและนิยมนำไปออกข้อสอบ เรามาดูต่อส่วนที่เป็น Regular Verb กันเลย
กริยา 3 ช่อง Irregular Verbs พร้อมคำอ่าน คำแปล กริยา 3 ช่อง หลายคำมีการเปลี่ยนรูปคำตามกาล (Tense) บางคำไม่เปลี่ยนเลยใช้รูปคำเดียวกันทุกช่อง แต่บางครั้งก็ออกเสียงไม่เหมือนกันก็มี
กริยา 3 ช่อง 100 คํา พร้อมคำอ่าน คำแปล (อัปเดต 2023) กริยา 3 ช่อง ส่วนมากจะนึกถึงกริยาที่ผันรูปที่ต่างกันไปโดยไม่เติม -ed ซึ่งไม่มีกฎตายตัว ต้องอาศัยการจำเท่านั้น เราจะเรียกกริยาพวกนี้ว่า กริยาอปกติ หรือ กริยา 3 ช่อง นั่นเอง ภาษาอังกฤษคือ Irregular Verbs
กริยา 3 ช่อง ที่เติม ed จากวันก่อนที่ได้อธิบายเรื่องกริยา 3 ช่อง และเห็นประเภทของคำกริยา 3 ช่องไปแล้ว นั่นคือมี REGULAR VERB (กริยาผันปกติ) และ IRREGULAR VERB (กริยาผันไม่ปกติ) เดี๋ยววันนี้เราจะมาดูกันว่ากริยาผันปกตินั้นมีอะไรกันบ้าง ไปดูกันเลย