คำราชาศัพท์ หมวดเครือญาติ เรามาดูหมวดที่น่าจะได้ใช้บ่อย ๆ ดีกว่า มาดูในหมวดเครือญาติกันดังต่อไปนี้ พระปัยกา หมายถึง ปู่ทวด; พระปัยยิกา หมายถึง ย่าทวด; พระมาตามหัยกา,พระปัยกา หมายถึง ตาทวด; พระมาตามหัยยิกา,พระปัยยิกา หมายถึง ยายทวด
คำราชาศัพท์ - คําราชาศัพท์ หมวดเครื่องประดับ คำราชาศัพท์ หมวดเครื่องประดับ ประกอบไปด้วย กำไลข้อพระบาท, ทองพระบาท ความหมาย กำไลข้อเท้า; ตุ้มพระกรรณ ความหมาย ต่างหู; ทองพระกร, ทองกร, พระวลัย ความหมาย กำไล; ทองพระกร, พระกำไล, พระวลัย ความหมาย กำไล
เทคนิคจำศัพท์ รู้เพียงหนึ่งคำ จำได้มากถึงร้อย - ตอนที่ 3 : Prefixes of time คิดว่ามาถึงตอนนี้หลายๆ คนน่าจะเริ่มเข้าใจความหมายของ Prefix และ suffix กันบ้างแล้วนะคะ และในวันนี้เราก็จะมาพูดถึงเจ้าตัว prefixes of time หรือส่วนเติมหน้าคำศัพท์แล้วให้ความหมายเกี่ยวกับเวลานั่นเอง มาเริ่มกันเลยดีกว่า
รวม 50 สำนวนไทย พร้อมความหมายน่ารู้ ที่ใช้บ่อยในชีวิตประจำวัน สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรงๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ ซึ่งเป็นข้อความที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านาน ส่วนใหญ่เป็นสำนวนที่เกิดจากวัฒนธรรมและพฤติกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันของคนไทย
Have a nice day! สำนวนดี ๆ ที่น่าใช้ ได้พบเห็นคำว่า Have a nice day ผ่านตาหลายครั้ง วันนี้เราจะพามาดูความหมายและตัวอย่างสำนวนที่เกี่ยวข้องกัน ไปดูกันเลย
แปลเนื้อเพลงอิต "ห่อหมกฮวกไปฝากป้า" เมื่อช่วงสงกรานต์ที่ผ่านมาหลายคนคงได้ยินเพลงลูกทุ่งสุดกวนอย่างเพลง ห่อหมกฮวกไปฝากป้า อย่างมากแทบทุกพื้นที่และเชื่อว่าหลายคนอาจจะแปลเนื้อเพลงได้ไม่หมดแม้แต่คนอิสานเองก็อาจมีหลายคนที่ถึงกับงงกับคำบางคำในเพลง วันนี้เราจึงจะมาแปลความหมายของเพลงนี้กันครับว่ามีความหมายว่าอย่างไร
คำไวพจน์ที่พบบ่อย หลายคนคงเคยประสบพบเจอปัญหาสับสนกับคำในภาษาไทยที่มีมากมายเหลือเกิน ทั้งที่บางคำก็เป็นคำที่มีความหมายถึงสิ่งเดียวกันแท้ ๆ เมื่อพูดถึงคำที่มีความหมายเหมือนกันแต่วิธีการเขียนและอ่านต่างกัน ในภาษาไทยเราจะเรียกว่า “คำไวพจน์”
คำภาษาไทยที่มีความหมายตรงกันข้าม เราได้หยิบยกคำที่มีความหมายตรงกันข้ามมาให้ผู้อ่านทุกท่านได้ศึกษาเพิ่มเติม อาจจะดูเหมือนเป็นเรื่องที่ง่ายใคร ๆ ก็รู้แต่บางคำบางคู่ก็อาจมีคนหลงลืมจำผิดจำถูก
เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน หมายถึงอะไร พร้อมตัวอย่างการใช้งาน "เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน" หมายถึง เก็บเล็กผสมน้อย, ทำอะไรที่ประกอบด้วยส่วนเล็กส่วนน้อย โน่นบ้างนี่บ้าง จนสำเร็จเป็นรูปเป็นร่างขึ้นมา (การสะสมหรือเก็บออมทรัพย์ไว้ทีละเล็กทีละน้อยจนมีมากขึ้น)
รู้ไว้ใช่ว่าใส่บ่าแบกหาม หมายถึงอะไร พร้อมตัวอย่างการใช้งาน สำนวน "รู้ไว้ใช่ว่าใส่บ่าแบกหาม" หมายถึง เรียนรู้ไว้ไม่หนักเรี่ยวหนักแรงหรือเสียหายอะไร
กริยาช่อง 2 ที่ใช้บ่อยพร้อมความหมาย กริยาช่อง 2 หรือ Verb ช่อง 2 คือ คำกริยาที่แสดงถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งส่วนใหญ่ Verb จำพวกนี้จะลงท้ายด้วย –ed ค่ะ โดยหลักการเติม –ed