คำไวพจน์: ม้า - คำไวพจน์ของ ม้า พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "ม้า" คือ ดุรงค์ พาชี มโนมัย สินธพ อัศว อัศวะ อัสดร อาชา อาชาไนย แสะ ไหย
คำไวพจน์: วัว - คำไวพจน์ของ วัว พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "วัว" คือ กระบือ กาสร ควาย คาวี โค ฉลู พฤษภ มหิงสา มหิงส์ อสุภ
คำไวพจน์: กระต่าย - คำไวพจน์ของ กระต่าย พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "สิงโต" คือ ศศ ศศะ หริณะ
คำไวพจน์: เต่า - คำไวพจน์ของ เต่า พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "เต่า" คือ กระ กัศยป กูรม กูรมะ จริว จะละเม็ด จิตรจุล นักกะ
คำไวพจน์: งู - คำไวพจน์ของ งู พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "งู" คือ นาคราช เงี้ยว อุรค อสรพิษ
คำไวพจน์: หมู - คำไวพจน์ของ หมู พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "หมู" คือ กุน จรุก วราหะ วราห์ ศูกร สุกร
คำราชาศัพท์ - คําราชาศัพท์ หมวดสรรพนาม คำราชาศัพท์ หมวดสรรพนาม ประกอบไปด้วย ข้าพระพุทธเจ้า = แทนชื่อผู้พูด (บุรุษที่ 1), กระผม, ดิฉัน = แทนชื่อผู้พูด (บุรุษที่ 1), ใต้ฝ่าละอองธุรีพระบาท = แทนชื่อที่พูดด้วย (บุรุษที่ 2)
"รสชาติ" กับ "รสชาด" คำไหนที่ถูกต้อง วันนี้เรามาลองทดสอบดูว่า ระหว่าง รสชาติ กับ รสชาด คำไหนที่ถูกต้อง?
"กะเทย" กับ "กระเทย" คำไหนที่ถูกต้อง วันนี้เรามาลองทดสอบดูว่า ระหว่าง กะเทย กับ กระเทย คำไหนที่ถูกต้อง?
กริยาช่อง 2 ที่ใช้บ่อยพร้อมความหมาย กริยาช่อง 2 หรือ Verb ช่อง 2 คือ คำกริยาที่แสดงถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งส่วนใหญ่ Verb จำพวกนี้จะลงท้ายด้วย –ed ค่ะ โดยหลักการเติม –ed
คำเป็น คำตาย คืออะไร คำเป็น คือ คำสระยาวที่ไม่มีตัวสะกดและคำในมาตรา; คำตาย คือ คำสระสั้นที่ไม่มีตัวสะกดพวกหนึ่ง; คำเป็นและคำตายยังมีประโยชน์ต่อการผันเสียงวรรณยุกต์ด้วย
คำราชาศัพท์ หมวดกริยา คำราชาศัพท์ หมวดกริยา ประกอบไปด้วย ชำระพระหัตถ์ ความหมาย ล้างมือ; ตรัส ความหมาย พูดด้วย; ถวายบังคม ความหมาย ไหว้; ทรงถาม, ตรัสถาม ความหมาย ถาม