10 ศัพท์อังกฤษที่ชอบออกเสียงผิดตอนเป็นเด็ก เรื่องปกติของเด็กที่ไม่ได้เกิดมาเป็น English native แบบคนไทยเรา ย่อมมีวัยเด็กที่รู้หลักการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษที่ยังน้อยนิด แต่ไปเจอศัพท์ที่ยากและออกเสียงแบบแหกกฎ พอนึกย้อนกลับไปนี่ก็ตลกตัวเองอยู่เหมือนกันว่าตอนนั้นทำไมอ่านแบบนั้นหล่ะ
อักษรย่อโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร ในกรุงเทพมหานคร เมืองหลวงของประเทศไทยเรามีโรงเรียนตั้งอยู่เป็นจำนวนมาก พอพูดถึงชื่อก็พอนึกออกว่าอยู่สังกัดไหนหรืออยู่ละแวกใด แต่พอเป็นชื่อย่อแล้วแทบจะนึกไม่ออกเลยว่าเป็นอักษรย่อของโรงเรียนไหน แต่ไม่ต้องปวดหัวแล้วเพราะว่าเราได้รวบรวมรายชื่อโรงเรียนในกรุงเทพฯ พร้อมอักษรย่อมาให้แล้ว ไปดูกันเลย
การใช้คะ ค่ะ นะคะ นะค่ะ ก่อนอื่น หลายคนคงสงสัยว่า คำว่า คะ ค่ะ นะคะ นะค่ะ เขียนอย่างไรถึงถูกต้องกันแน่ บางคนเขียน "ค๊ะ" ใส่ไม้ตรีก็มี ซึ่งใครที่สงสัยเรื่องนี้ ต้องย้อนกลับไปดูหลักภาษาไทยพื้นฐานสมัยประถมกันก่อนคะ เอ้ยยยย ค่ะ โดยเฉพาะเรื่อง "อักษรสูง-อักษรต่ำ", "คำเป็น-คำตาย" และการผันวรรณยุกต์วันนี้เราจะมาแยกใช้ให้ออกกัน มาดูกันเลย
อักษรย่อตำแหน่งต่าง ๆ และคำนำหน้าชื่อ อักษรย่อเองก็ไม่ต่างจากศัพท์เทคนิคหรือศัพท์เฉพาะ ถ้าคนที่ไม่คุ้นเคยหรือไม่ได้อยู่ในแวดวงที่ใช้คำเหล่านั้นย่อมไม่ทราบความหมายหรือคำเต็ม อาจเกิดการเข้าใจและนำไปใช้ผิดได้
กริยา 3 ช่อง a-z พร้อมคำแปล (ไฟล์ pdf) หลายคนถามหาที่รวมคำกริยา 3 ช่อง แบบเป็นไฟล์ pdf และต้องการให้เรียงตามตัวอักษร A-Z ให้ด้วย เราจึงได้รวบรวม กริยา 3 ช่อง a-z พร้อมคำแปล (ไฟล์ pdf) มาให้แล้ว
รวมกริยา 3 ช่อง ที่ช่อง 2 และ 3 เหมือนกัน กริยา 3 ช่อง คือ คำที่ใช้เพื่อบ่งบอกถึงเหตุการณ์ในแต่ละช่วงเวลา หรือเป็นคำที่ใช้แสดงถึงอาการหรือเหตุการณ์ในช่วงเวลาที่เกิดขึ้น ได้แก่ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ในอดีต ปัจจุบัน หรืออนาคต
ดำตับเป็ด เป็นคำด่าหรือเป็นคำชม คำว่าดำตับเป็ดนั้นแท้จริงแล้วเป็นคำด่าหรือเป็นคำชมกันแน่ โดยคนส่วนมากในสมัยนี้จะเข้าใจคำนี้ว่าเป็นคำด่า เนื่องจากได้ยินคำว่า อีดำตับเป็ด ๆ อยู่เนือง ๆ งั้นวันนี้เรามาดูกันว่า ดำตับเป็ด นั้นหมายความว่าอย่างไร