หลักการอ่านคำกริยา 3 ช่อง Regular Verbs (ที่เติม -ed) เราได้เรียนรู้และเห็นการกริยา 3 ช่องกันมาหลายคำแล้ว อย่างที่รู้ว่าเราแบ่งเป็นเปลี่ยนคำ (Irregular Verbs) หรือเติม -ed ต่อท้าย (Regular Verbs) แบบแรกก็ง่ายเพราะมีเสียงอ่านเฉพาะคำ แต่แบบที่ 2 แม้จะเติม -ed แต่ดันอ่านไม่เหมือนกันอีก เดี๋ยวเรามาดูกันว่าคำไหนต้องออกเสียงแบบไหนกัน ไปดูเลย
หลักการใช้ a, an, the คำนำหน้าคำนามเพื่อคุณสมบัติมีหลายคำ แต่สงสัยใช่มั้ยหล่ะว่าคำไหนใช้ตอนไหน เมื่อไหร่ และยังไง เดี๋ยววันนี้เรามาดูกัน
กริยา 3 ช่อง ทั้งหมด พร้อมคำอ่าน ในภาษาอังกฤษ การใช้คำประเภทคำกริยา นั้นจะมีกฎเกณฑ์ที่แตกต่างจากภาษาไทยในเรื่องของการเปลี่ยนรูปคำตามช่วงของเวลา ในภาษาไทยเอง ถ้าเป็นการกระทำใด ๆ ในห้วงเวลาที่แตกต่างกัน เราจะมีคำบอกช่วงเวลาในประโยค เช่น เมื่อเช้านี้ ฉันกินข้าวเช้าแล้ว แต่ในภาษาอังกฤษ จะต้องเปลี่ยนรูปของคำกริยาเพื่อบอกว่าเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาใดแทน จึงเป็นที่มาของคำว่า กริยา 3 ช่อง ที่เราจะมาเรียนกันในวันนี้
รวมคำอวยพรวันคริสต์มาส ใกล้ถึงเทศกาลคริสต์มาสกันเข้ามาทุกที หลายคนก็กำลังหาคำอวยพรเตรียมไว้แล้วใช่มั้ยหล่ะ จริง ๆ ก็หาไม่ยากหรอก แต่เพื่อเป็นการสะดวกกับทุกคน ทีมงาน wordy guru จึงได้รวบรวมไว้ให้ เพื่อจะได้เลือก ค้นหาได้ง่าย ๆ และหยิบคำอวยพรที่นิยมใช้บ่อยที่สุด 10 อันดับมาให้ก่อน
คำราชาศัพท์ที่พบในพิธีราชาภิเษก ใกล้เข้ามาทุกทีสำหรับวันสำคัญของปวงชนชาวไทย นั้นก็คือพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ระหว่างวันที่ 4-6 พฤษภาคม พุทธศักราช 2562 ในพิธีบรมราชาภิเษกหรือพระราชพิธีอื่น ๆ นั้นจะมีคำราชาศัพท์ใดบ้างที่เกี่ยวข้อง
45 คำพังเพยไทย คำพังเพย เป็นการกล่าวเปรียบเทียบ(อุปมา) ต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น มีที่มาจากคำกล่าวต่อ ๆ กันมาช้านาน จากเหตุการณ์ในวิถีชีวิตของคนรุ่นก่อน ๆ ซึ่งมีความหมายแฝง มีลักษณะคล้ายภาษิต
รวมคำที่เกี่ยวข้องกับคำว่า "นายกรัฐมนตรี" ผ่านพ้นกันไปแล้วกับการเลือกตั้งปี 2566 ของประเทศไทย เพื่อจัดตั้งรัฐบาลและเลือกนายกรัฐมนตรีวาระใหม่
คำมูล คำมูล หมายถึง คำพื้นฐานที่มีความหมายสมบูรณ์ในตัวเองโดยไม่ได้ประสมกับคำอื่น ซึ่งคำมูลนี้จะเป็นพยางค์เดียว หรือหลายพยางค์ก็ได้ ได้แก่
"อนุญาต" กับ "อนุญาติ" คำไหนที่ถูกต้อง คำที่ถูกต้องคือ "อนุญาต" ไม่ใช่ "อนุญาติ"; อนุญาต หมายความว่า ยินยอม, ยอมให้, ตกลง
รวบรวมคำศัพท์ วันฮาโลวีน ใกล้วันฮาโลวีนเข้ามาแล้ว วันนี้เรามาเรียนรู้คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับวันนี้กัน โดยเราได้รวบรวมมาให้ตามประเภทของคำให้แล้ว ไปดูกันเลย
คำไวพจน์: ม้า - คำไวพจน์ของ ม้า พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "ม้า" คือ ดุรงค์ พาชี มโนมัย สินธพ อัศว อัศวะ อัสดร อาชา อาชาไนย แสะ ไหย
คำไวพจน์: วัว - คำไวพจน์ของ วัว พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "วัว" คือ กระบือ กาสร ควาย คาวี โค ฉลู พฤษภ มหิงสา มหิงส์ อสุภ