คำไวพจน์ ดอกบัว | คำคล้าย ดอกบัว คำไวพจน์ ของ "ดอกบัว" คือ อุบล บงกช นิลุบล นิโลตบล ปทุม สัตตบรรณ ปัทมา บุษกร สัตตบงกช จงกล บุณฑริก ปทุมา อุทุมพร สาโรช
เปลี่ยนคำเอกพจน์เป็นคำพหูพจน์ในภาษาอังกฤษ หลายคนคงเคยได้ยินกฏหรือหลักการการเปลี่ยนคำนามเอกพจน์เป็นคำนามพหูพจน์กันมาบ้างแล้ว ถ้ายังจำได้มีข้อง่ายคือตาม s ตามหลังเลย แต่หากเป็นสละก็ให้เติม es หรือต้องเปลี่ยน y เป็น i แล้วเติม es อะไรทำนองนี้ ยากใช่มั้ยหล่ะ
คำพ้องความหมาย จะเห็นได้ว่าที่จริงแล้วมันก็คือหนึ่งการเรียกชื่อของ คำไวพจน์ นั่นเอง โดยหมายถึง คำที่มีความหมายเหมือนกัน ซึ่งมีมากหลากหลายคำ บางครั้งคำไวพจน์ก็มีชื่อเรียกไปตามความเข้าใจว่าเป็น “การหลากคำ” บ้าง “คำพ้องความหมาย” บ้าง “คำพ้องความ” บ้าง ครับ
บัณฑิต ตรงกับคำไหนในภาษาบาลีและสันสกฤต คำไทยนั้นมีการยืมคำจากภาษาอื่นมาเยอะมาโดยเฉพาะภาษาบาลีและสันสกฤต และคำว่าบัณทิตก็เป็นคำยืมคำหนึ่ง
ทูลเกล้าฯ อ่านว่าอย่างไร วันนี้เราจะพาไปดูคำในภาษาไทยที่แปลกอีกหนึ่งคำ คือมีรูปคำที่ถูกย่อ แต่พออ่านแล้วต้องอ่านเต็ม ๆ คำ นั่นก็คือคำว่า ทูลเกล้าฯ
คำไวพจน์: กวาง - คำไวพจน์ของ กวาง พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "กวาง" คือ มฤค มฤคี มิค มิคะ หริณะ
คำไวพจน์: นกยูง - คำไวพจน์ของ นกยูง พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "นกยูง" คือ เมารี โมร โมรี โมเรส กระโงก กุโงก มยุรา มยุระ มยุเรศ มยุรี มยุร
คำไวพจน์: หมาจิ้งจอก - คำไวพจน์ของ หมาจิ้งจอก พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "หมาจิ้งจอก" คือ ศฤคาล สฤคาล สิคาล สิงคาล ศิคาล