การใช้สระ หากกล่าวถึงหลักภาษาสิ่งหนึ่งที่ขาดไม่ได้ก็คือ สระ หลายคนรู้จักสระในภาษาไทยกันดี แต่รู้การใช้สระหรือไม่ว่าเป็นอย่างไร วันนี้เราจะมาหาคำตอบนั้น มาดูกันเลย
การใช้ Pronoun จากบทความก่อนๆเราได้นำเสนอไปแล้วว่า Pronoun นั้นคืออะไรและมีคำไหนบ้าง วันนี้เราจึงจะมานำเสนอเกี่ยวกับหลักการใช้ Pronoun ให้ได้รู้จักอย่างคร่าวๆกันก่อน ซึ่งหลักการใช้ง่าย ๆ มีดังนี้
สาเหตุการเกิดภาษา หลายคนอาจจะเคยสงสัยว่าภาษาไทยที่เราใช้สื่อสารกันในทุกวันนี้มีที่มาอย่างไร วันนี้เราจะมาหาคำตอบกันจากบทความนี้ มาดูกันว่าภาษาเกิดขึ้นมาได้อย่างไร
ภาษาบาลี-สันกฤต ในบรรดาภาษาต่างประเทศที่มีอิทธิพลต่อภาษาไทยมากที่สุด คือ ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต คำยืมในภาษาไทยที่ยืมมาจากทั้งสองภาษานี้ เป็นคำที่มีใช้ในชีวิตประจำวันเป็นจำนวนมากทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน ภาษาบาลีเข้ามาทางศาสนาพุทธ ส่วนภาษาสันสกฤตเข้ามาทางศาสนาพราหมณ์และวรรณคดีเรื่องมหาภารตะและรามายณะ
108 มุกจีบสาว คัดมาให้แล้ว รับรองว่าเด็ด หนุ่ม ๆ คนไหนกำลังมองหาคำคม มุกเสี่ยว เอาไปเกี่ยวสาว เชิญทางนี้เลย เราได้คัดมาให้แล้ว เด็ดทุกคำแน่นอน เอาไปส่งให้คนที่เราชอบ รับรองได้ผลชัวร์
10 คำกริยา 3 ช่อง หมวด Regular Verb ที่ค้นหาบ่อยและนิยมนำไปออกข้อสอบ ต่อจากส่วนที่แล้ว – 10 คำกริยา 3 ช่อง หมวด Irregular Verb ที่ค้นหาบ่อยและนิยมนำไปออกข้อสอบ เรามาดูต่อส่วนที่เป็น Regular Verb กันเลย
กวยจั๊บ หรือ ก๋วยจั๊บ เขียนยังไงถึงจะถูกต้อง หลายคนมีข้อสงสัยว่า ร้านขายอาหารที่มีอยู่ทั่วไปเห็นเขียนว่า ก๋วยจั๊บกันหมด แต่มีบางร้าน หรือบางครั้งบอกว่านั่นเขียนผิดนะ เลยสงสัยในใจว่าตกลงอันไหนผิด แล้วที่เขียนถูกจริงๆคือคำไหน งั้นเราไปดูกันเลย
กริยา 3 ช่อง ที่เติม ed จากวันก่อนที่ได้อธิบายเรื่องกริยา 3 ช่อง และเห็นประเภทของคำกริยา 3 ช่องไปแล้ว นั่นคือมี REGULAR VERB (กริยาผันปกติ) และ IRREGULAR VERB (กริยาผันไม่ปกติ) เดี๋ยววันนี้เราจะมาดูกันว่ากริยาผันปกตินั้นมีอะไรกันบ้าง ไปดูกันเลย
เทคนิคจำศัพท์ รู้เพียงหนึ่งคำ จำได้มากถึงร้อย - ตอนที่ 3 : Prefixes of time คิดว่ามาถึงตอนนี้หลายๆ คนน่าจะเริ่มเข้าใจความหมายของ Prefix และ suffix กันบ้างแล้วนะคะ และในวันนี้เราก็จะมาพูดถึงเจ้าตัว prefixes of time หรือส่วนเติมหน้าคำศัพท์แล้วให้ความหมายเกี่ยวกับเวลานั่นเอง มาเริ่มกันเลยดีกว่า
สวัสดีปีใหม่ของอาเซียน เทศกาลปีใหม่ใกล้เข้ามาทุกทีแล้วหลายคนก็วางแผนไปเที่ยวไปพักผ่อนในช่วงหยุดยาวปีใหม่นี้มีทั้งในประเทศและต่างประเทศ หลายคนอาจไปเที่ยวประเทศเพื่อนบ้านแถวๆ อาเซียนซึ่งเหมาะอย่างมากกับการไปเที่ยวพักผ่อนและวันนี้เราก็มีคำสวัสดีปีใหม่จากประเทศอาเซียนมาฝากให้ได้ไปพูดทักทายกับคนอาเซียนเวลาไปเที่ยวปีใหม่ มาดูว่าพูดว่าอย่างไรกันบ้าง
ลักษณะนาม หลายคนอาจจะเคยเข้าใจผิดและงงกับลักษณะนามของการเรียกสิ่งต่างๆ เรียกว่าอย่างไรกันแน่ วันนี้มาดูกันว่าคำนามเหล่านี้จะมีลักษณะนามเรียกว่าอย่างไร
กริยาช่อง 2 กริยาช่อง 2 เป็นหนึ่งในคำกริยาในภาษาอังกฤษที่ถูกแบ่งออกเป็น 3 ช่อง เพื่อแบ่งแยกและบ่งบอกถึงเหตุการณ์ในแต่ละช่วงเวลา 3 ช่วง คือ อดีต ปัจจุบัน และอนาคต โดยที่กริยาช่อง 2 นั้นจะใช้กล่าวถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วในอดีต