คำไวพจน์: หมู - คำไวพจน์ของ หมู พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "หมู" คือ กุน จรุก วราหะ วราห์ ศูกร สุกร
คำไวพจน์: ม้า - คำไวพจน์ของ ม้า พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "ม้า" คือ ดุรงค์ พาชี มโนมัย สินธพ อัศว อัศวะ อัสดร อาชา อาชาไนย แสะ ไหย
คำไวพจน์: วัว - คำไวพจน์ของ วัว พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "วัว" คือ กระบือ กาสร ควาย คาวี โค ฉลู พฤษภ มหิงสา มหิงส์ อสุภ
คำไวพจน์: กระต่าย - คำไวพจน์ของ กระต่าย พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "สิงโต" คือ ศศ ศศะ หริณะ
คำไวพจน์: เต่า - คำไวพจน์ของ เต่า พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "เต่า" คือ กระ กัศยป กูรม กูรมะ จริว จะละเม็ด จิตรจุล นักกะ
คำที่อ่านควบกล้ำไม่แท้ ดังที่ทราบกันดีว่าในภาษาไทยจะมีคำควบกล้ำสองลักษณะ คือ คำควบกล้ำแท้ และคำควบกล้ำไม่แท้
คำราชาศัพท์ - คําราชาศัพท์ หมวดสรรพนาม คำราชาศัพท์ หมวดสรรพนาม ประกอบไปด้วย ข้าพระพุทธเจ้า = แทนชื่อผู้พูด (บุรุษที่ 1), กระผม, ดิฉัน = แทนชื่อผู้พูด (บุรุษที่ 1), ใต้ฝ่าละอองธุรีพระบาท = แทนชื่อที่พูดด้วย (บุรุษที่ 2)
คำไทยที่มักอ่านผิด ภาษาไทย ไม่ว่าจะเป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน หรือภาษาที่ใช้ในวรรณกรรม ล้วนมีความไพเราะ น่าอ่าน น่าฟังยิ่ง เพราะเรามีเสียงสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์ที่จะทำให้คำ มีเสียงและทำนองที่เปลี่ยนแปรไป มีการใช้ถ้อยคำคล้องจอง มีสัมผัส ฟังเหมือนเสียงดนตรี และยังมีเนื้อหาการใช้ อันแสดงให้เห็นถึงปฏิภาณไหวพริบต่างๆ ด้วยเหตุนี้วันนี้เราจึงมาดูกันว่ามีคำไหนบ้างที่คนไทยส่วนใหญ่มักอ่านผิดและจะได้กลับไปอ่านให้ถูกต้อง
คำทักทายภาษาอาเซียน ปัจจุบันประเทศไทยถือว่าได้เปิดเขตการค้าเสรีอาเซียนอย่างสมบูรณ์แล้วเพราะฉนั้นการเรียนรู้ในเรื่องสื่อสารจึงไม่ใช่เรื่องไกลตัวอีกต่อไป และวันนี้เรามีคำทักทายของประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ชาติอาเซียน ได้แก่ ประเทศบรูไน พม่า กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และเวียดนาม มาฝากกัน
"รสชาติ" กับ "รสชาด" คำไหนที่ถูกต้อง วันนี้เรามาลองทดสอบดูว่า ระหว่าง รสชาติ กับ รสชาด คำไหนที่ถูกต้อง?
"กะเทย" กับ "กระเทย" คำไหนที่ถูกต้อง วันนี้เรามาลองทดสอบดูว่า ระหว่าง กะเทย กับ กระเทย คำไหนที่ถูกต้อง?
กริยาช่อง 2 ที่ใช้บ่อยพร้อมความหมาย กริยาช่อง 2 หรือ Verb ช่อง 2 คือ คำกริยาที่แสดงถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งส่วนใหญ่ Verb จำพวกนี้จะลงท้ายด้วย –ed ค่ะ โดยหลักการเติม –ed