แปลว่า น. คําที่เขียนต่างกันแต่มีความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงกันมาก เช่น มนุษย์กับคน บ้านกับเรือน รอกับคอย ป่ากับดง, คําพ้องความ ก็ว่า, (ป. เววจน); (โบ) ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทย ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) หมายถึง คําที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันและมีความหมายต่างกัน เช่น ใสกับไส โจทก์กับโจทย์ พานกับพาล, ปัจจุบันเรียกว่า คําพ้องเสียง.
แปลว่า ไวพจน์
ประเภท n
ตัวอย่าง การพัฒนาย่อมเป็นไวพจน์กับคำว่า เจริญ หรือทำให้เจริญ
หมวดหมู่ การศึกษา
หมวดหมู่ คำไวพจน์ ไป
หมวดหมู่ คำไวพจน์ ไป
หมวดหมู่ คำไวพจน์ ไป
หมวดหมู่ คำไวพจน์ ไป
หมวดหมู่ คำไวพจน์ งู
หมวดหมู่ คำไวพจน์ งู
หมวดหมู่ คำไวพจน์ งู
หมวดหมู่ คำไวพจน์ นรก
หมวดหมู่ คำไวพจน์ น้ำ
หมวดหมู่ คำไวพจน์ น้ำ
หมวดหมู่ คำไวพจน์ น้ำ
หมวดหมู่ คำไวพจน์ น้ำ
หมวดหมู่ คำไวพจน์ น้ำ
หมวดหมู่ คำไวพจน์ น้ำ
หมวดหมู่ คำไวพจน์ น้ำ
หมวดหมู่ คำไวพจน์ ปลา
นางเงือก
หมวดหมู่ คำไวพจน์ ปลา