ค้นหาเจอ 101 บทความ
ค้นหาเจอ 101 บทความ
หลายคนคงอยากทราบข้อมูลในเรื่องของคำไวพจน์เพิ่มเติมจากที่เราได้เคยนำเสนอไปแล้ว วันนี้เราจึงมาเพิ่มเติมข้อมูลให้แก่ผู้อ่าน และนำคำไวพจน์ต่าง ๆ มาให้ได้ศึกษากันอีก
คำไวพจน์ ของ "ผู้หญิง" คือ กัญญา นงราม เยาวรักษณ์
คำไวพจน์ ของ "น้ำ" คือ คงคา ธารา สินธุ ชลธาร นที หรรณพ
คำว่าดำตับเป็ดนั้นแท้จริงแล้วเป็นคำด่าหรือเป็นคำชมกันแน่ โดยคนส่วนมากในสมัยนี้จะเข้าใจคำนี้ว่าเป็นคำด่า เนื่องจากได้ยินคำว่า อีดำตับเป็ด ๆ อยู่เนือง ๆ งั้นวันนี้เรามาดูกันว่า ดำตับเป็ด นั้นหมายความว่าอย่างไร
คำไวพจน์ ของ "ภูเขา" คือ คีรี บรรพต ศิขริน
คำไวพจน์ ของ "แม่น้ำ" คือ สายชล สายนที
คำไวพจน์ ของ "ลม" คือ พระพาย มารุต วาโย
คำไวพจน์ ของ "ป่า" คือ ชัฏ พงไพร ไพร
มีหลายคนสอบถามมาถึงเรื่องสาเหตุที่ต้องมีคำราชาศัพท์นั้นมีที่มาอย่างไร วันนี้เรามาอธิบายให้ฟังดีกว่า และจะอธิบายให้เห็นถึงประโยชน์ของการเรียนรู้คำราชาศัพท์ให้ฟังกันด้วย
ภาษาไทย ไม่ว่าจะเป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน หรือภาษาที่ใช้ในวรรณกรรม ล้วนมีความไพเราะ น่าอ่าน น่าฟังยิ่ง เพราะเรามีเสียงสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์ที่จะทำให้คำ มีเสียงและทำนองที่เปลี่ยนแปรไป มีการใช้ถ้อยคำคล้องจอง มีสัมผัส ฟังเหมือนเสียงดนตรี และยังมีเนื้อหาการใช้ อันแสดงให้เห็นถึงปฏิภาณไหวพริบต่างๆ ด้วยเหตุนี้วันนี้เราจึงมาดูกันว่ามีคำไหนบ้างที่คนไทยส่วนใหญ่มักอ่านผิดและจะได้กลับไปอ่านให้ถูกต้อง