หลักการสื่อสารกันของมนุษย์

หลักการสื่อสารกันของมนุษย์
หลักการสื่อสารกันของมนุษย์

ในการติดต่อสื่อสารกันระหว่างมนุษย์กับมนุษย์นั้น มนุษย์ก็จะใช้วิธีการต่าง ๆ ซึ่งทำให้อีกฝ่ายหนึ่งรับรู้ความหมายของอีกฝ่ายหนึ่ง การติดต่อสื่อสารกันเป็นกระบวนการของมนุษย์ที่ใช้สำหรับการแลกเปลี่ยน ความรู้ ความรู้สึก ความคิดเห็น อารมณ์ ความต้องการ ทัศนคติ และประสบการณ์ซึ่งกันและกัน วันนี้เราจะนำหลักการเล็ก ๆ น้อย ๆ ในการสื่อสารมาให้ผู้อ่านได้ศึกษา

 

ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารกันของมนุษย์

ภาษาที่เราใช้ในการติดต่อสื่อสารของมนุษย์เราคือ สิ่งที่เรียกว่า อวัจนภาษา

อวัจนภาษา คืออะไร

สิ่งสำคัญของการสื่อสารคือ

  • ก. ผู้ส่งสาร
  • ข. ผู้รับสาร
  • ค. สาร

ในปัจจุบันเครื่องมือสื่อสารที่มีอานุภาพมากที่สุดในโลกคือ การพูด เราควรปฏิบัติตนในการสื่อสารด้วยการพูดดังต่อไปนี้

  • ก. สนทนาในเรื่องที่เหมาะแก่กาลเทศะ
  • ข. ไม่ควรพูดส่อเสียดคู่สนทนา และนินทาลับหลัง
  • ค. ไม่สนทนาก้าวก่ายในเรื่องส่วนตัวของคู่สนทนา
  • ง. ไม่ควรพูดแต่เรื่องส่วนตัว

วิธีการพูดสื่อสารในกลุ่มคน หรือต่อหน้าที่ประชุมที่ถูกต้องคือ น้ำเสียงแจ่มใสชัดเจน ใช้ระดับเสียงพอเหมาะ ในเรื่องผลสัมฤทธิ์ในการพูด เราควรนึกถึง

  • ก. รสนิยมของผู้ฟัง
  • ข. ความสนใจของผู้ฟัง
  • ค. ประสบการณ์ของผู้ฟัง
  • ง. วัยของผู้ฟัง

การฟังพระธรรมเทศนา คำสั่งสอน โอวาท โต้วาที และบทกวี เป็นการฟังในรูปแบบ การฟังเพื่อให้ได้ข้อคติชีวิต และความจรรโลงใจ มารยาทที่ไม่ควรกระทำในที่ประชุมคือ

  • ก. ป้องปากกระซิบกระซาบ
  • ข. แสดงกิริยาอาการโห่ฮา
  • ค. ไม่สบตากับผู้พูด
  • ง. พูดคุยเสียงดังจอแจ

 

 

การหาความหมายของคำศัพท์เป็นการอ่านเพื่อเก็บความรู้

 

หลังจากที่อ่านจบแล้วหวังว่าหลักความรู้เล็กน้อยในบทความนี้คงจะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่าน


อ่านต่อเพิ่มเติม

ความคิดเห็นในหัวข้อ "หลักการสื่อสารกันของมนุษย์"