คำไวพจน์

คำไวพจน์ หมวด ข

คำไวพจน์ หมวด ข ตามที่เคยรู้จัก คำไวพจน์ มีอยู่หลายคำ จะมีคำไหนที่เรารู้จักไหมนะ

"คำไวพจน์" มีความหมายว่าอย่างไร

คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน ตรงกัน หรือคล้ายกันมาก แต่เขียนและออกเสียงต่างกัน เรียกอีกอย่างว่า "คำพ้องความ" เช่น ดอกไม้ และ บุษบา, สวย และ งาม, เศร้า และ เสียใจ เป็นต้น

คำไวพจน์ แบ่งเป็นกี่ประเภท

ประเภทของคำไวพจน์ สามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท โดยต้องสังเกตบริบทการใช้คำๆ นั้นควบคู่ไปด้วย ดังนี้

  1. คำพ้องรูป หมายถึง คำที่เขียนเหมือนกัน แต่อาจจะออกเสียงต่างกัน ความหมายต่างกัน
  2. คำพ้องเสียง หมายถึง คำที่ออกเสียงเหมือนกัน แต่เขียนต่างกัน ความหมายต่างกัน
  3. คำพ้องความ หมายถึง คำที่ความหมายเหมือนกัน แต่เขียนต่างกัน ออกเสียงต่างกัน

แต่เราจะเห็นในลักษณะ คำพ้องความ เสียเป็นส่วนใหญ่

รวมคำไวพจน์ หมวด ข

คำไวพจน์ หมวด ข ตามที่เคยรู้จัก คำไวพจน์ มีอยู่หลายคำ จะมีคำไหนที่เรารู้จักไหมนะ

  1. คำไวพจน์ ขอโทษ = ษมา / ยกโทษ / ขอษมา / ขอขมา / กล่าวคำขอโทษ / กฺษมา / กษมา / มินตา / ขอประทานโทษ / ขออภัย / อภัย / ขอโทษขอโพย / ขมา
  2. คำไวพจน์ แข็งแรง = เสถียร- / พิริยะ / ธีร / ธีร- / ธีระ / ทัฬหะ / ทัฬหิ / ทัฬหี / ทฺฤฒ / ทฺฤฒี / เสถียร / พิริย- / พฤฒ / พฤฒา / พุฒ / ทักษ / ทักษ- / พลว / พลว- / สกรรจ์ / ฉกรรจ์ / จังมัง / พิริย / มั่นคง / คงทน / คะมึก / ถิร / ถิร- / เถียร / บุหงัน / เข้มแข็ง / กำแหง / ทน / พฤทธ์

คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน แต่ใช้ในบริบทต่าง ๆ กัน หรือเรียกอีกอย่างว่า “คำพ้องความ” หรือคำที่เขียนต่างกันแต่มีความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงกันมาก เช่น บุษบา กับ บุปผา ช้าง กับ คช ป่า กับ ดง ม้า กับ อาชา เป็นต้น

 ความคิดเห็นในหัวข้อ "คำไวพจน์ หมวด ข"