คำไวพจน์

คำไวพจน์ หมวด ว

คำไวพจน์ หมวด ว ตามที่เคยรู้จัก คำไวพจน์ มีอยู่หลายคำ จะมีคำไหนที่เรารู้จักไหมนะ

"คำไวพจน์" มีความหมายว่าอย่างไร

คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน ตรงกัน หรือคล้ายกันมาก แต่เขียนและออกเสียงต่างกัน เรียกอีกอย่างว่า "คำพ้องความ" เช่น ดอกไม้ และ บุษบา, สวย และ งาม, เศร้า และ เสียใจ เป็นต้น

คำไวพจน์ แบ่งเป็นกี่ประเภท

ประเภทของคำไวพจน์ สามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท โดยต้องสังเกตบริบทการใช้คำๆ นั้นควบคู่ไปด้วย ดังนี้

  1. คำพ้องรูป หมายถึง คำที่เขียนเหมือนกัน แต่อาจจะออกเสียงต่างกัน ความหมายต่างกัน
  2. คำพ้องเสียง หมายถึง คำที่ออกเสียงเหมือนกัน แต่เขียนต่างกัน ความหมายต่างกัน
  3. คำพ้องความ หมายถึง คำที่ความหมายเหมือนกัน แต่เขียนต่างกัน ออกเสียงต่างกัน

แต่เราจะเห็นในลักษณะ คำพ้องความ เสียเป็นส่วนใหญ่

รวมคำไวพจน์ หมวด ว

คำไวพจน์ หมวด ว ตามที่เคยรู้จัก คำไวพจน์ มีอยู่หลายคำ จะมีคำไหนที่เรารู้จักไหมนะ

  1. คำไวพจน์ วัด = อารามิก / อาราม / โบสถ์ / สถานปฏิบัติธรรม / สำนักสงฆ์ / วิหาร / เจดีย์ / พุทธาวาส / ราชวรมหาวิหาร / ศาลาการเปรียญ / ราชวรวิหาร / การเปรียญ / วรมหาวิหาร / วรวิหาร / วัดราษฎร์
  2. คำไวพจน์ วัว = คาวี / ฉลู / มหิงส์ / พฤษภ / ควาย / กาสร / อสุภ / มหิงสา / กระบือ / โค
  3. คำไวพจน์ เวลา = เพรางาย / ละมา / นิศากาล / นิสาท / ศุกลปักษ์ / บัด / รุ่งอรุณ / รุ่งเช้า / พรหมภูติ / อันธิกา / มะลำ / มาลำ / จิรกาล / ทินาท / รัตติกาล / มัชฌันติก / จิรัฐิติกาล / สนธยา / บัดแมล่ง / บุพพัณหสมัย / มุหุต / รุ่งสาง / สัญฌา / รุ่งสว่าง / กัลปาวสาน / เมื่อกี้ / เมื่อตะกี้ / โพล้เพล้ / อนาคต / กลางคืน / หัวที / หัวค่ำ / เดี๋ยวนี้ / ประเดี๋ยวนี้ / พลบค่ำ / คืน / ครู่ / เช้า / เช้ามืด / ย่ำค่ำ / กลางวัน / พลบ / เข้าไต้เข้าไห / บ่ายควาย / ทิวกาล / กาล / อรุโณทัย / ไก่โห่ / เพล / นิสาทิ / นิศาคม / อุษาโยค / มัชฌันติกสมัย

คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน แต่ใช้ในบริบทต่าง ๆ กัน หรือเรียกอีกอย่างว่า “คำพ้องความ” หรือคำที่เขียนต่างกันแต่มีความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงกันมาก เช่น บุษบา กับ บุปผา ช้าง กับ คช ป่า กับ ดง ม้า กับ อาชา เป็นต้น

 ความคิดเห็นในหัวข้อ "คำไวพจน์ หมวด ว"