คำไวพจน์

คำไวพจน์ หมวด ม

คำไวพจน์ หมวด ม ตามที่เคยรู้จัก คำไวพจน์ มีอยู่หลายคำ จะมีคำไหนที่เรารู้จักไหมนะ

"คำไวพจน์" มีความหมายว่าอย่างไร

คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน ตรงกัน หรือคล้ายกันมาก แต่เขียนและออกเสียงต่างกัน เรียกอีกอย่างว่า "คำพ้องความ" เช่น ดอกไม้ และ บุษบา, สวย และ งาม, เศร้า และ เสียใจ เป็นต้น

คำไวพจน์ แบ่งเป็นกี่ประเภท

ประเภทของคำไวพจน์ สามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท โดยต้องสังเกตบริบทการใช้คำๆ นั้นควบคู่ไปด้วย ดังนี้

  1. คำพ้องรูป หมายถึง คำที่เขียนเหมือนกัน แต่อาจจะออกเสียงต่างกัน ความหมายต่างกัน
  2. คำพ้องเสียง หมายถึง คำที่ออกเสียงเหมือนกัน แต่เขียนต่างกัน ความหมายต่างกัน
  3. คำพ้องความ หมายถึง คำที่ความหมายเหมือนกัน แต่เขียนต่างกัน ออกเสียงต่างกัน

แต่เราจะเห็นในลักษณะ คำพ้องความ เสียเป็นส่วนใหญ่

รวมคำไวพจน์ หมวด ม

คำไวพจน์ หมวด ม ตามที่เคยรู้จัก คำไวพจน์ มีอยู่หลายคำ จะมีคำไหนที่เรารู้จักไหมนะ

  1. คำไวพจน์ มด = เล็น / ตะนอย / ตะลาน / มดดำ / มดแดง / อ้ายชื่น / ง่าม
  2. คำไวพจน์ มนุษย์ = เพื่อน / ฤาษี
  3. คำไวพจน์ มลทิน = มัวหมอง / ไม่บริสุทธิ์ / สกปรก / มละ / ด่างพร้อย / เกลือกกลั้ว / ราคี / คาว / มุทิน / สนิม / อุปราคา
  4. คำไวพจน์ มอง = มุ่งดู / ดู / ชายตา / เมียงมอง / มองเมียง / แยงยล / ยล / เยี่ยม ๆ มอง ๆ / หมายตา / ชระเมียง / ทอดตา / ทอดสายตา / ส่ายตา / บง / ส่งสายตา
  5. คำไวพจน์ มาก = บเอ / พันลาย / กรด / ครามครัน / เจี๊ยบ / ดีพร / พหุล / เมือบ / หนาตา / อเนก / อธิก / วิบุล / วิบูล / มูน / พหล / พอแรง / ปัง / ปือ / แปร๊ด / ภูริ / มลาก / หนา / เหวง / โหวงเหวง / กระชอม / เกลี่อน / เกลื่อนกล่น / คลาคล่ำ / เตอะ / มากมาย / โต / โข / ชะมัด / เอาเรื่อง / พรรเหา / พันเหา / พหุ / พหู / มิดหมี / เป็นกอง / ภฤศ / จัด / มหัต / มหันต์ / ใหญ่ / ขู / โอฬาร / ภุส / ไกร / บารนี / เกรียง / อธึก / อำพน / หลาย / หลาก / แครครั่ง / คับคั่ง / ดา / ชุกชุม / อักโข
  6. คำไวพจน์ มาลัย = ดอกไม้ประดิษฐ์ / พวงมาลัย / มาไล / อุบะ / พวงมาลา
  7. คำไวพจน์ มี = มั่ง / กอบด้วย / ประกอบด้วย / ยังมี / ได้แก่
  8. คำไวพจน์ มือ = กร / หัตถ / หัตถ์
  9. คำไวพจน์ ม้า = พาชี / อัศว / มโนมัย / สินธพ / แสะ / อาชา / อาชาไนย / ดุรงค์ / อัศวะ / ไหย / อัสดร
  10. คำไวพจน์ เมฆ = ขี้เมฆ / ปัชชุน / เมฆา / เมฆินทร์ / เมฆี / วาริท / วาริธร / พยับเมฆ / วลาหก / อัมพุท / พลาหก / ปโยชนม์ / ปโยธร / หมอก
  11. คำไวพจน์ เมีย = ภรรยา
  12. คำไวพจน์ เมือง = บุรี / นครินทร์ / บุรินทร์ / ธานินทร์ / นคเรศ / พารา / สถานิย / กรุง / ธานี / ประเทศ / นครา / นคร / นคร / ธานิน / ปุระ
  13. คำไวพจน์ เมืองหลวง = ราชธานี / หัวเมือง / เมืองเป็นที่ตั้งรัฐบาล / เมืองศูนย์กลาง
  14. คำไวพจน์ แมว = มัชชาระ / วิฬาร / วิฬาร์ / ชมา / พิฬาร / วิฑาล
  15. คำไวพจน์ แม่ = อัมพา / ชเนตตี / มารดา / มารดร / สัสุรี / สสุรี / ทวด / ชวด / ยาย / มาตฤ / มารดา / มาดา / มาตา / ย่า / มาตุ / เม / มาตุเรศ / มาตุรงค์ / ผู้ให้กำเนิด
  16. คำไวพจน์ แม่น้ำ = สายชล / สายนที / คลอง / ลุ่มน้ำ / แคว / สทิง / สินธุ์ / ลำน้ำ / สายน้ำ / น้ำ / ทะเล / มหาสมุทร / สินธู / ชลาสินธุ์
  17. คำไวพจน์ ไม่ = บมิ / มิ / อ / อ- / หาไม่ / หา ไม่ / หา...ไม่ / บ / บ่ / บราง / ไป่ / ฤ

คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน แต่ใช้ในบริบทต่าง ๆ กัน หรือเรียกอีกอย่างว่า “คำพ้องความ” หรือคำที่เขียนต่างกันแต่มีความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงกันมาก เช่น บุษบา กับ บุปผา ช้าง กับ คช ป่า กับ ดง ม้า กับ อาชา เป็นต้น

 ความคิดเห็นในหัวข้อ "คำไวพจน์ หมวด ม"