คำไวพจน์

คำไวพจน์ หมวด จ

คำไวพจน์ หมวด จ ตามที่เคยรู้จัก คำไวพจน์ มีอยู่หลายคำ จะมีคำไหนที่เรารู้จักไหมนะ

"คำไวพจน์" มีความหมายว่าอย่างไร

คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน ตรงกัน หรือคล้ายกันมาก แต่เขียนและออกเสียงต่างกัน เรียกอีกอย่างว่า "คำพ้องความ" เช่น ดอกไม้ และ บุษบา, สวย และ งาม, เศร้า และ เสียใจ เป็นต้น

คำไวพจน์ แบ่งเป็นกี่ประเภท

ประเภทของคำไวพจน์ สามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท โดยต้องสังเกตบริบทการใช้คำๆ นั้นควบคู่ไปด้วย ดังนี้

  1. คำพ้องรูป หมายถึง คำที่เขียนเหมือนกัน แต่อาจจะออกเสียงต่างกัน ความหมายต่างกัน
  2. คำพ้องเสียง หมายถึง คำที่ออกเสียงเหมือนกัน แต่เขียนต่างกัน ความหมายต่างกัน
  3. คำพ้องความ หมายถึง คำที่ความหมายเหมือนกัน แต่เขียนต่างกัน ออกเสียงต่างกัน

แต่เราจะเห็นในลักษณะ คำพ้องความ เสียเป็นส่วนใหญ่

รวมคำไวพจน์ หมวด จ

คำไวพจน์ หมวด จ ตามที่เคยรู้จัก คำไวพจน์ มีอยู่หลายคำ จะมีคำไหนที่เรารู้จักไหมนะ

  1. คำไวพจน์ จระเข้ = นักกะ / กุมภา / กุมภิล / กุมภีล์ / นักระ / ตะโขง / ไอ้เคี้ยง / ตะเข้ / แร้ / สุงสุมาร
  2. คำไวพจน์ จำนวน = มาก
  3. คำไวพจน์ จำนวนนับ = หนึ่ง
  4. คำไวพจน์ จิต = จิตตวิสุทธิ / ฌาน / สมุฏฐาน / เจตสิก / จิตใจ / สมาธิ / จิตวิสัย / ประทุษฐจิต / ประทุษฏจิต / จิตร / จิตต / จริม- / จริม / ประทุฐจิต / เถยจิต / ภวังคจิต / หัวจิตหัวใจ / จิตต์ / จิตต-
  5. คำไวพจน์ ใจ = กมล / ดวงใจ / ฤทัย / มโน / ดวงหทัย / ฤดี / มน / ดวงแด / หฤทัย

คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน แต่ใช้ในบริบทต่าง ๆ กัน หรือเรียกอีกอย่างว่า “คำพ้องความ” หรือคำที่เขียนต่างกันแต่มีความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงกันมาก เช่น บุษบา กับ บุปผา ช้าง กับ คช ป่า กับ ดง ม้า กับ อาชา เป็นต้น

 ความคิดเห็นในหัวข้อ "คำไวพจน์ หมวด จ"