คำที่มีตัวการันต์
บางคำเป็นคำที่คุ้นเคยกันอยู่แล้ว และคำใหม่ที่ไม่คุ้นเคย จึงเป็นการได้เรียนรู้คำศัพท์คำใหม่ไปในตัวด้วย บางครั้งบางที คำศัพท์ที่เราพูดกันทุกวัน นาน ๆ ทีถึงจะมีโอกาสได้เขียน หลายคนอาจจะเคยต้องสงสัยว่าตัวเองเขียนถูกไหมนะ
ภาษาไทย
รวมทุกอย่างที่เกี่ยวข้องมาให้ค้นหาข้อมูลได้แบบสะดวกสุด
คำศัพท์ที่เป็นที่นิยมในการค้นหาจากเพื่อนๆ
แหล่งความรู้ อัปเดตใหม่ทุกวัน
บางคำเป็นคำที่คุ้นเคยกันอยู่แล้ว และคำใหม่ที่ไม่คุ้นเคย จึงเป็นการได้เรียนรู้คำศัพท์คำใหม่ไปในตัวด้วย บางครั้งบางที คำศัพท์ที่เราพูดกันทุกวัน นาน ๆ ทีถึงจะมีโอกาสได้เขียน หลายคนอาจจะเคยต้องสงสัยว่าตัวเองเขียนถูกไหมนะ
ภาษาไทย
หลายคนคงกำลังตามหาสำนวนไทยแบบแยกตามหมวดหมู่อยู่หล่ะสิ นี่เลยทีมงาน Wordy Guru ได้รวบรวมมาไว้ให้ในนี้เลย โดยแยกหมวดหมู่ให้อยู่แยกหน้าเสร็จสรรพ เอาหล่ะไปดูกันเลย หากค้นหาคำไหนไม่เจอ ก็สามารถเข้าไปดูเพิ่มเติมได้ที่หน้าหลักของ สำนวนไทยได้ หรือจะค้นหาเป็นรายคำก็ได้เช่นกัน
ภาษาไทย
พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่คนไทยส่วนใหญ่นับถือ ในภาษาไทยจึงมีการกำหนดถ้อยคำไว้จำนวนหนึ่งสำหรับใช้กับภิกษุสามเณรโดยเฉพาะ ทั้งนี้เพราะพระภิกษุอยู่ในฐานะที่เป็นผู้สืบพระพุทธศาสนา และเป็นผู้ทรงศีล สามารถเทศนาสั่งสอนประชาชนให้ประพฤติดีประพฤติชอบ จึงควรใช้ภาษาด้วยถ้อยคำสุภาพและถูกต้องตามกาลเทศะ เพื่อให้ผู้ฟังเกิดความเคารพนับถือ
พุทธสุภาษิต
หลายคนต่างสงสัยว่า สํานวน สุภาษิต และคําพังเพย นั้นต่างกันอย่างไรหรือว่าเป็นอันเดียวกันเลย เพราะว่าแทบจะแยกความแตกต่างไม่ออกเลย ซึ่งพอพิจารณาดี ๆ แล้วก็พอจะดูออกว่าต่างกันอย่างไร เดี๋ยววันนี้เรามาดูกัน
ภาษาไทย
วันนี้เราจะมาดูกันว่าสำนวนไทยนั้นมีที่มาจากอะไรกันได้บ้าง ซึ่งสำนวนไทยมีจำนวนมากมายและมีที่มาที่หลากหลายประเภท ผมได้รวบรวมประเภทที่มาและตัวอย่างไว้ให้ในบทความนี้
ภาษาไทย
หลายคนคงกำลังตามหาสำนวนไทยแบบแยกตามหมวดหมู่อยู่หล่ะสิ นี่เลยทีมงาน Wordy Guru ได้รวบรวมมาไว้ให้ในนี้เลย โดยแยกหมวดหมู่ให้อยู่แยกหน้าเสร็จสรรพ เอาหล่ะไปดูกันเลย หากค้นหาคำไหนไม่เจอ ก็สามารถเข้าไปดูเพิ่มเติมได้ที่หน้าหลักของ สำนวนไทยได้ หรือจะค้นหาเป็นรายคำก็ได้เช่นกัน
ภาษาไทย
นี่เลย รวมสุภาษิตของไทยทุกคำมาไว้ให้ในบทความนี้แล้ว พร้อมแยกหมวดหมู่เป็นหน้า ๆ ให้ด้วย
ภาษาไทย
ในการสื่อสารของมนุษย์ไม่ว่าจะเชื้อชาติใด สิ่งหนึ่งที่ต้องคำนึงถึงในการสื่อสารนั้นก็คือมารยาทและความเหมาะสมที่ใช้ ไม่ว่าจะเป็นการพูดหรือการเขียนก็ต้องดูความเหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาษาไทย วันนี้เราจึงจะมาพูดถึงดับภาษาที่เป็นทางการว่าควรพูดอย่างไร ควรใช้คำในรูปแบบไหน สถานการณ์ใดจึงจะเหมาะสม แล้ววันนี้เราจะได้รู้กัน
ภาษาไทย
ภาษาไทยมีคำยืมมาจากภาษาต่างประเทศหลายภาษา เช่น ภาษาเขมร ภาษาจีน ภาษาชวา ภาษาบาลี ภาษาละติน ภาษาสันสกฤต ภาษาอังกฤษ
คำทับศัพท์
คำสมาส เป็นคำที่เกิดจากการรวมคำสองคำซึ่งต่างก็เป็นคำบาลีหรือสันสกฤตเข้าเป็นคำเดียวกัน โดยการนำมาเรียงต่อกัน ไม่ได้มีการดัดแปลงรูปอักษร มีการออกเสียง อะ อิ อุ ระหว่างคำ
ภาษาไทย
จะเห็นได้ว่าที่จริงแล้วมันก็คือหนึ่งการเรียกชื่อของ คำไวพจน์ นั่นเอง โดยหมายถึง คำที่มีความหมายเหมือนกัน ซึ่งมีมากหลากหลายคำ บางครั้งคำไวพจน์ก็มีชื่อเรียกไปตามความเข้าใจว่าเป็น “การหลากคำ” บ้าง “คำพ้องความหมาย” บ้าง “คำพ้องความ” บ้าง ครับ
ภาษาไทย
ใกล้ปีใหม่กันแล้ว หลายคนกำลังวางแผน หรือตั้งใจจะทำอะไรใหม่ และที่ขาดไม่ได้คือเรื่องนี้เลย การออมเงิน ผมเดาถูกใช่มั้ย เพราะใครต่อใครก็อยากมีชีวิตที่ดีขึ้นกันหมดแหละ และหนึ่งในปัจจัยที่ทำให้ชีวิตเราดีขึ้น คือการมีเงินเก็บที่เยอะขึ้น ทั้งเผื่อใช้จ่ายในอนาคตและเหตุฉุกเฉินต่างๆ
ภาษาไทย
วันนี้เรามาทำความรู้จักกับอักษรย่อกันถึงความหมาย ที่มาที่ไป และตัวอย่าง โดยได้รวบรวมมาให้แล้วในบทความนี้ แต่ก่อนอื่นรู้หรือไม่ว่ามีชื่อเรียกของอักษรย่ออีกอย่างว่า รัสพจน์ อยากรู้แล้วใช่มั้ยหล่ะ ไปดูกันเลย
ภาษาไทย
จะกี่ยุคกี่สมัย ไม่ว่าจะเป็นหนุ่มสาว หรือผู้หลักผู้ใหญ่ก็นิยมใช้สำนวนไทยอยู่เรื่อย ๆ แบบว่าเป็นเจ้าบทเจ้ากลอนก็คงไม่ผิดนัก แม้จะพูดจาหรือสั่งสอนใคร ก็มักจะอ้างเอาสำนวน สุภาษิต หรือคำพังเพยที่พูดต่อ ๆ กันมาตั้งแต่ครั้งโบราณมาเปรียบเทียบเปรียบเปรยเสมอ ซึ่งคำเหล่านี้มักจะเป็นคำที่คล้องจองกัน ทำให้จดจำได้ง่ายและเห็นภาพได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
ภาษาไทย
วันวาเลนไทน์ใกล้เข้ามาทุกทีแล้ว หลายคนคงวางแผนจะทำอะไรแล้วบ้างในวันวาเลนไทน์นี้ แน่นอนถ้าพูดถึงวันวาเลนไทน์ก็ต้องนึกถึงประโยคบอกรักหวาน ๆ และวันนี้เราก็รวบรวมประโยคบอกรักเสี่ยว ๆ 50 ประโยคมาฝากกัน รับรองคนได้ฟังต้องมีเขินกันอย่างแน่นอน มาดูกันเลย
ภาษาไทย
สำหรับวันนี้มีเรื่องอยากจะนำเสนอเกี่ยวกับการพิมพ์หรือการเขียนของคำในภาษาไทยที่ใกล้ตัวและเรามักจะใช้ (สะกด) ผิดกัน คำที่ว่านี้ก็คือ "อนุญาต" ครับ ผมว่าคนไทยหลาย ๆ คนคงจะใช้กันผิดเป็นคำว่า "อนุญาติ" อาจจะมาจากความเคยชินที่เรามักจะสะกดคำ ๆ นี้ผิด แต่ไม่เป็นไรเนาะไม่ใช่เรื่องใหญ่ที่เราไม่สามารถแก้ไขได้ งั้นวันนี้เราจึงมาดูกันว่าสองคำนี้แตกต่างกันอย่างไรและใช้คำไหนถึงจะถูกต้อง
ภาษาไทย
ภาษาไทย ไม่ว่าจะเป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน หรือภาษาที่ใช้ในวรรณกรรม ล้วนมีความไพเราะ น่าอ่าน น่าฟังยิ่ง เพราะเรามีเสียงสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์ที่จะทำให้คำ มีเสียงและทำนองที่เปลี่ยนแปรไป มีการใช้ถ้อยคำคล้องจอง มีสัมผัส ฟังเหมือนเสียงดนตรี และยังมีเนื้อหาการใช้ อันแสดงให้เห็นถึงปฏิภาณไหวพริบต่างๆ ด้วยเหตุนี้วันนี้เราจึงมาดูกันว่ามีคำไหนบ้างที่คนไทยส่วนใหญ่มักอ่านผิดและจะได้กลับไปอ่านให้ถูกต้อง
ภาษาไทย
มีหลายคนสอบถามมาถึงเรื่องสาเหตุที่ต้องมีคำราชาศัพท์นั้นมีที่มาอย่างไร วันนี้เรามาอธิบายให้ฟังดีกว่า และจะอธิบายให้เห็นถึงประโยชน์ของการเรียนรู้คำราชาศัพท์ให้ฟังกันด้วย
ภาษาไทย
ห่างหายกันไปนานกับเรื่องคำราชาศัพท์ วันนี้เราจึงนำคำราชาศัพท์ในหมวดเครือญาติมานำเสนอให้ทุกคนได้เรียนกัน คำราชาศัพท์ ก็คือคำที่ใช้สำหรับพระมหากษัตริย์ อันได้แก่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินีนาถ พระบรมวงศานุวงศ์ พระภิกษุสงฆ์ ขุนนางข้าราชการรวมถึงสุภาพชนทั่วไป นั้นเอง ถึงแม้หลายคนจะมองว่าเป็นเรื่องไกลตัวแต่จริง ๆ แล้ว เราทุกคนอาจมีโอกาสได้คำราชาศัพท์กันอย่างแน่นอนไม่มากก็น้อย อย่างนั้นเรามาดูหมวดที่น่าจะได้ใช้บ่อย ๆ ดีกว่า มาดูในหมวดเครือญาติกันดังต่อไปนี้
ภาษาไทย
หลายคนมีข้อสงสัยว่า ร้านขายอาหารที่มีอยู่ทั่วไปเห็นเขียนว่า ก๋วยจั๊บกันหมด แต่มีบางร้าน หรือบางครั้งบอกว่านั่นเขียนผิดนะ เลยสงสัยในใจว่าตกลงอันไหนผิด แล้วที่เขียนถูกจริงๆคือคำไหน งั้นเราไปดูกันเลย
ภาษาไทย
ทดสอบความรู้เกี่ยวกับ คำสมาสทั้งหมด
คำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด หมวด ก.
จำนวนการเข้าชม 774
คำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด หมวด ข.
จำนวนการเข้าชม 419
คำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด หมวด ค.
จำนวนการเข้าชม 476
คำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด หมวด ฉ.
จำนวนการเข้าชม 303
คำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด หมวด ซ.
จำนวนการเข้าชม 340
คำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด หมวด ต.
จำนวนการเข้าชม 616
คำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด หมวด ท.
จำนวนการเข้าชม 608
คำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด หมวด ธ.
จำนวนการเข้าชม 468
คำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด หมวด ป.
จำนวนการเข้าชม 637
คำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด หมวด ฟ.
จำนวนการเข้าชม 193
คำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด หมวด ย.
จำนวนการเข้าชม 468
คำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด หมวด ส.
จำนวนการเข้าชม 9,999
คำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด หมวด อ.
จำนวนการเข้าชม 9,999
คำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด หมวด ง.
จำนวนการเข้าชม 345
คำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด หมวด จ.
จำนวนการเข้าชม 404
คำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด หมวด ถ.
จำนวนการเข้าชม 410
คำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด หมวด น.
จำนวนการเข้าชม 718
คำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด หมวด บ.
จำนวนการเข้าชม 493
คำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด หมวด ผ.
จำนวนการเข้าชม 526
คำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด หมวด พ.
จำนวนการเข้าชม 342
ร่วมให้กำลังใจหรือติชม